วันอาทิตย์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DTS 02-23/06/2009

#include "stdio.h"
#include "string.h"
void main()
{
struct pocket
{
char name[20];
char surname[30];
int member_code;
char color[15];
char group[10];
char size[10] ;
float price;
char type[10];

}sale;
strcpy(sale.name,"Rujira");
strcpy(sale.surname,"Jankeaw");
sale.member_code=1234;
strcpy(sale.color,"pink");
strcpy(sale.group,"female");
sale.price=45;
strcpy(sale.size,"s");
strcpy(sale.type,"handbag");


printf("POCKET\n");
printf("Name:%s\n",sale.name);

printf("Surname:%s\n",sale.surname);
printf("Color:%s\n",sale.color);
printf("Group:%s\n",sale.group);
printf("Size:%s\n",sale.size);
printf("Price:%.2f\n",sale.price);
printf("Type:%s\n",sale.type);
printf("Code_Member:%d\n",sale.code_member);
}



ความรู้ที่ได้จากการเรียน
จากที่ได้เรียนวิชาโครงสร้างข้อมูลดิฉันมีความเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับวิชานี้ และทราบว่าโครงสร้างข้อมูลประกอบด้วยอะไรบ้าง และใช้ทะอะไรได้บ้างในวิชานี้
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้นักศึกษาทราบวิธีการของอะเรย์
2. เพื่อให้นักศึกษาทราบวิธีการส่งค่าของอะเรย์
ในโปรแกรม และฟังก์ชัน
3. เพื่อให้นักศึกษาทราบวิธีการดำเนินการที่
เกี่ยวข้องกับเรคคอร์ด ข้อมูล
4. เพื่อให้นักศึกษาทราบความสัมพันธ์ของข้อมูล
ที่เกิดขึ้นของเรคคอร์ดกับอะเรย์ข้อมูล
อะเรย์เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เรียกว่า Linear List มีลักษณะ
คล้ายเซ็ตในคณิตศาสตร์ คือ อะเรย์จะประกอบด้วยสมาชิกที่มีจำนวน
คงที่ มีรูปแบบข้อมูลเป็นแบบเดียวกัน สมาชิกแต่ละตัวใช้เนื้อที่จัดเก็บ
ที่มีขนาดเท่ากัน เรียงต่อเนื่องในหน่วยความจำหลัก




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น